ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฤณภัก มหาทรัพย์

Assistant Professor Prinnapak Mahasup, Ph.D.

Department of Physical Therapy
Research Articles
1. Mahasup P, Laddawong T. The immediate effect of Kinesio taping and mirror neuron stimulation on gross motor function in Thai children with cerebral palsy. Thai Journal of Physical Therapy. 2021; 43(3): 125-135.
2. Mahasup P, Kanchanomai S. Comparison of lower extremity range of motion during walking between children with cerebral palsy and typical children. Chula Med J. 2019; 63(3): 171-177.
3. Sritipsukho P, Mahasup N. Correlations between gross motor functions and health-related quality of life in Thai children with spastic diplegia. J Med Assoc Thai. 2014 Aug;97 Suppl 8:S199-204.
4. Mahasup N, Sritipsukho P, Lekskulchai R, Hansakunachai T. Effects of mirror neurons stimulation on motor skill rehabilitation in children with cerebral palsy: a clinical trial. J Med Assoc Thai. 2012 Jan;95 Suppl 1:S166-72
5. Mahasup N, Sritipsukho P, Lekskulchai R, Keawutan P. Inter-rater and intra-rater reliability of the gross motor function measure (GMFM-66) by Thai pediatric physical therapists. J Med Assoc Thai. 2011 Dec;94 Suppl 7:S139-44.
6. Liabsirinon S., Tantilipikorn P., Mahasup N. Interrater reliability Thai version of gross motor function classification system (GMFCS) in Thai children with cerebral palsy. Thai Journal of Physical Therapy. 2008; 1(Suppl. 30): 26-36.
Research Grants
1. โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนานวัตกรรมเครื่องวัดแรงกดและการกระจายแรงกดเท้ารายงานผลในเท้าข้างเดียวและทั้งสองข้างด้วยภาพกราฟิก” โดย รศ.ดร.เกษรา รักษ์พงษ์สิริ (หัวหน้าโครงการ) ผศ.ดร.รุ่งทิพย์ รุ่งแก้ว และ ผศ.ดร.ปฤณภัก มหาทรัพย์ (ผู้ร่วมวิจัย) ทุนสนับสนุนงานวิจัยเชิงนวัตกรรม จากกองทุนวิจัยคณะสหเวชศาสตร์ ปีงบประมาณ 2567 ครั้งที่ 5 (67)
2. การพัฒนา mobile application การออกกำลังกายเบื้องต้นในเด็กภาวะสมองพิการ ทุนสนับสนุนงานวิจัยเชิงนวัตกรรม คณะสหเวชศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2562
3. ผลของการติดเทปไคเนซิโอร่วมกับการกระตุ้นเซลล์กระจกเงาในเด็กภาวะสมองพิการไทย ทุนสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2560
4. การเปรียบเทียบมุมการเคลื่อนไหวของข้อต่อรยางค์ขาขณะเดินระหว่างเด็กสมองพิการและเด็กปกติ ทุนสนับสนุนงบประมาณจากคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2557
Awards
1. Special prize from The Ministry of Education and Science of the Russian Federation at The 46th International Exhibition of Inventions Geneva, Geneva, Switzerland วันที่ 11-15 เมษายน 2561 ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จากผลงาน“The mirror neurons stimulation based VCD program for improving balance in sitting position for children with cerebral palsy”
2. Silver medal award from The 46th International Exhibition of Inventions Geneva, Geneva, Switzerland วันที่ 11-15 เมษายน 2561 ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จากผลงาน“The mirror neurons stimulation based VCD program for improving balance in sitting position for children with cerebral palsy”
3. โล่รางวัลงานวันนักวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี 2561 ประเภท “ผู้ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณทางด้านการวิจัยจากหน่วยงานภายนอก”
Presentations:
1. Poster presentation: เรื่อง “โปรแกรมพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวในท่านั่งโดยกระตุ้นการทำงานของเซลล์กระจกเงาในรูปแบบวีดิทัศน์สำหรับเด็กภาวะสมองพิการ” ในงานวันนักประดิษฐ์ ประจำปี 2562 วันที่ 2-6 กุมภาพันธ์ 2562 ณ Event Hall 102-104 ไบเทค บางนา
2. Poster presentation: เรื่อง “The mirror neurons stimulation based VCD program for improving balance in sitting position for children with cerebral palsy” ในงาน The 46th International Exhibition of Inventions Geneva, Geneva, Switzerland. วันที่ 11-15 เมษายน 2561 ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
Textbooks/Books
1. ปฤณภัก มหาทรัพย์ และธีรพัฒน์ ลัดดาวงศ์. มหกายวิภาคศาสตร์ทางกายภาพบำบัดของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ: หลังและรยางค์แขน. พิมพ์ครั้งที่ 1. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; เมษายน 2563.
Patents/Petty Patents/Copyrights
1. โปรแกรมพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวโดยกระตุ้นการทำงานของเซลล์กระจกเงาในเด็กภาวะสมองพิการ (The mirror neurons stimulation based VCD program on motor skill rehabilitation in children with cerebral palsy)
2. การพัฒนา mobile application การออกกำลังกายเบื้องต้นในเด็กภาวะสมองพิการ (Mobile application ชื่อ “หนูจ๋า”)