รองศาสตราจารย์ ดร.กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์

Associate Professor Kornanong Yuenyongchaiwat, Ph.D.

Department of Physical Therapy
Research Articles
1. Yuenyongchaiwat K*., Thanawattano C, Buranapuntalug S, Pongpanit K, Saengkrut P. Development of respiratory device and the immediate effect of prototype of respiratory device on blood pressure in adults with high blood pressure Interventional Medicine and Applied Science 2019; 11(1): 21-26.
2. Yuenyongchaiwat K*., Buranapuntalug S, Pongpanit K, Kulchanarat C. Walking performance in the 6-minute walk test and gait speed in patients undergoing open heart surgery: A Preliminary cohort study Research in Cardiovascular Medicine 2019; 8(1): 19-22.
3. Pongpanit K, Kulchanarat C, Buranapuntalug S, Yuenyongchaiwat K. Correlation between change in respiratory muscle strength and cough ability in patients submitted to open-heart surgery Eastern Journal of Medicine 2019; 24(4): 401-404.
4. Pongpanit K, Viseschoonhasilp B, Ruangklai S, Pririyatkaraphan T, Buranapuntalug S, Yuenyongchaiwat K. Alteration of inspiratory muscle strength is related to change in deep breathing heart rate variability in patients submitted to open-heart surgery. Duzce Medical Journal 2019;21(2):79-83. doi: 10.18678/dtfd.538675
5. Chiraunyanann T, Changsri K, Sretapanya W, Yuenyognchaiwat K, Akekawatchai C. CXCL12 G801A polymorphism is associated with significant liver fibrosis in HIV-infected Thais: a cross-sectional study Asian Pac J Allergy Immunol 2019 ;37(3):162-170. doi: 10.12932/AP-160917-0162.
6. Yuenyongchaiwat K*, Buranapuntalug S, Pongpanit K, Kulchanarat C. Decreased cardiorespiratory fitness and slow gait speed in Thai patients after open cardiac surgery: a preliminary prospective observational study. Physiotherapy Quarterly 2020; 28(1): 29–34
7. Yuenyongchaiwat K*, Buranapuntalug S, Pongpanit K, Kulchanarat C. Anxiety and depression symptomatology related to respiratory muscle strength and functional capacity in patients who had undergoing open heart surgery. Indian Journal of Psychological Medicine 2020; 42(6): 549-554.
8. Leelasittikul K., Koonkumchoo P., Buranapuntalug S., Pongpanit, K., Yuenyongchaiwat K*. Effect of air quality on cardio-respiratory systems in Northern Thailand (Chiang Mai, Chiang Rai and Nan Province) Chiang Mai University Journal of Natural Sciences 2020; 19(4): 702-717. CMU J. Nat. Sci. 2020; 19 (4): 702-717
9. Yuenyongchaiwat K*, Saengkrut P, Vasinsarunkul P, Phongsukree P, Chaturattanachaiyaporn K., Charususin N Pairojkittrakul. Effects of Inspiratory Muscle Training and Deep Breathing Training in Chronic Renal Failure Patients: A Comparison Randomized Control Trial. Journal of the Medical Association of Thailand 2020; 103suppl3: 37-42.
10. Srisupornkornkook K, Sornkaew K, Chatkanjanakook K, Ampairattana C, Pongtasom P, Yuenyongchaiwat K, Pongpanit, K. Electromyography features during physical and imagined standing up in healthy young adults. Journal of Health Research 2020; DOI 10.1108/JHR-08-2019-0175.
11. Yuenyongchaiwat K*, Namdang P, Saengkrut P, Vasinsarunkul P, Phongsukree P, Kodchaphan Chaturattanachaiyaporn K, Pairojkittrakul S, Tritanon O. Effects of respiratory muscle training in chronic renal failure patients on respiratory fitness and quality of life: a randomized control trial. Physiother Res Int. 2021;26: e1879. https://doi.org/10.1002/pri.1879
12. Yuenyongchaiwat K*, Jongritthiporn S, Somsamarn K, Sukkho O, Pairojkittrakul S, Traitanon O. Depression and low physical activity are related to sarcopenia in hemodialysis: a single-center study. PeerJ 2021; 9:e11695
13. Yuenyongchaiwat K*, Boonsinsukh R. Type 2 Diabetes Mellitus Related to Decreased Peripheral and Respiratory Muscle Strength in sarcopenic Thai Elderly. Current Aging Science. 2021;14(3):235-241. doi: 10.2174/1874609814666210715141903.
14. Yuenyongchaiwat K*, Thanawattano C, Buekban C, Charususin N, Pongpanit K, Hanmanop S, Namdang P, Traitanon O. Efficiency of the Respiratory Training Prototype for Application in Hemodialysis Patients: A Preliminary Study. Philippine Journal of Science 2021; 150(5): 1225-1230.
15. Yuenyongchaiwat K*, Akekawatchai C.Prevalence and incidence of sarcopenia and low physical activity among community-dwelling older Thai people: A preliminary prospective cohort study 2-year follow-up PeerJ 2022; 10:e13320. http://doi.org/10.7717/peerj.13320
16. Pinijmung P, Yuenyongchaiwat K*, Buakhamsri A. Prevalence and impact of sarcopenia in heart failure: A cross-sectional study Open Cardiovascular Medicine Journal 2022, 16, e187419242202240. DOI: 10.2174/18741924-v16-e2202240.
17. Yuenyongchaiwat K*, Akekawatchai C. Systematic inflammation in sarcopenia alter functional capacity in Thai Community-Dwelling Elderly: A preliminary observational study during the COVID-19 pandemic Current Aging Science,2022, 15(3), 274–281.
18. Yuenyongchaiwat K*, Akekawatchai C. Beneficial effects of walking-based home program for improving cardio-respiratory performance and physical activity in sarcopenic older people: a randomized controlled trial. European Journal of Physical and Rehabilitation; 58(6): 838-844.
19. Thanasarn B, Pibul W, Kulchanarat C, Piathip D, Yuenyongchaiwat K*. A Prospective Study of 73 Patients to Compare Forward Head Angle, Forward Shoulder Angle, Maximal Inspiratory Pressure, and Self-Reported Breathing-Related Symptoms Before and After Open-Heart Surgery. Medical Science Monitor Basic Research 2023; 29:e938802: ID: 938802
20. Mekritthikrai N, Yuenyongchaiwat K, Thanawattano C. Concurrent validity and reliability of new application for 6-min walk test in healthy adults. Heliyon 2023; 9:e17854.
21. Yuenyongchaiwat K, Changsr K, Harnmanop S, Namdaeng P, Aiemthaisong M, Pongpanit K, Pariyatkaraphan T. “Effects of slow breathing training on hemodynamic changes, cardiac autonomic function and neuroendocrine response in people with high blood pressure: A randomized control trial. Journal of Bodywork and Movement Therapies 2024; 37: 136–141
22. Yuenyongchaiwat, K. Boonkawee, T. Pipatsart, Tavonudongit W, Sermsinsaithong N, Songsorn P, Charususin N, Harnmanop S, Namdaeng P, Kulchanarat, C. Thanawattano, C. Effects of virtual exercise on cardio-pulmonary performance and depression in cardiac rehabilitation phase I: A randomized control trial. Physiotherapy Research International 2024 Jan;29(1):e2066. doi: 10.1002/pri.2066.
23. Pongpanit K, Laosiripisan J, Songsorn P, Charususin N, Yuenyongchaiwat K.Neural respiratory drive assessment and its correlation with inspiratory muscle strength in patients undergoing open-heart surgery: A cross-sectional study. Physiother Res Int. 2024 Jan;29(1):e2073. doi: 10.1002/pri.2073.
24. Yuenyongchaiwat, K, Changsri K, Harnmanop S, Namdaeng P, Aiemthaisong M, Pongpanit K, Pariyatkaraphan T. Effects of slow breathing training on hemodynamic changes, cardiac autonomic function and neuroendocrine response in people with high blood pressure: A randomized control trial. Journal of Bodywork & Movement Therapies 2024; 37: 136–141
25. Yuenyongchaiwat, K. Chamnansingh, C., Akekawatchai, C. Investigating the Contributing Risk Factors toward Sarcopenia Prevalence and its Development in Human Immunodeficiency Virus (HIV) Patients. Open Public Health Journal 2024; 17: e18749445288299.
26. พัชรินทร์ แสงครุฑ, กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. ผลของการฝึกหายใจในระหว่างการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ ความสามารถในการทำกิจกรรม ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง:การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง 2562; 63(3): 167-174 .
27. สมฤดี หาญมานพ, ศศิภา บูรณพันธฤกษ์, กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์, ขจรศักดิ์ พงษ์พานิช, ภูวรินทร์ นามแดง. การเปรียบเทียบผลของการออกกำลังกายในน้ำและบนบกต่อความดันโลหิตและองค์ประกอบของร่างกายในผู้ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานและอ้วน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2562; 27(4); 726-737
28. วรัญชัย ลิ้มเจริญสุข, เกษรา รักษ์พงษ์สิริ, กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. สมรรถภาพทางกายแบบแอโรบิค คุณภาพชีวิต และ ภาวะซึมเศร้า ในเด็กวัยรุ่นที่ทำงานช่วงกลางคืน จังหวัดปทุมธานี. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง. 2562: 63(5): 337-348
29. ผกามาศ พิริยะประสาธน์, กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. นพพล ประโมทยกุล, กฤษรา ครุฑนาค ผลของการทำกายภาพบำบัดที่บ้าน ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเรื้อรังที่ไม่ได้รับการฟื้นฟูแล้ว: การศึกษาเบื้องต้น. ธรรมศาสตร์เวชศาสตร์ 2562; 19suppl: S48-S56.
30. ชิติมา กุลชนะรัตน์, กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเรื่องความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง 2563. 64(5): 333-344. http://dx.doi.org/10.14456/vmj.2020.33
31. ศิวพงษ์ เผ่ากันทะ, สิริกร ศรีนิล, ประพรมพร พินิจมั้ง, ขนิษฐา วัฒนนานนท์, กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. ความชุกของภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยและความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถภาพ ร่างกายกับภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในกลุ่มผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว: การศึกษาเบื้องต้นแบบภาคตัดขวาง วารสารวิชาการสาธารณสุข 2566; 32(4): 616-626
32. ณัฐสินี เสริมสินสายทอง, นันทิชา กุลชัยธนโรจน์, พัทธนันท์ มาราช, สุพัตรา ธาดาธีรพัฒน์, ขนิษฐา วัฒนนานนท์, ศศิภา บูรณพันธฤกษ์, กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. ผลการฝึกหายใจด้วยแอปพลิเคชันมือถือ ต่อความสามารถในการทำกิจกรรมและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว: การศึกษานำร่อง. วารสารกายภาพบำบัด 2567; 46(1): 14-26.
33. นันทิยา บุญถนอม, พัชรี คุณคํ้าชู, กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. ความชุกของภาวะมวลกล้ามเนื้อน้ อยและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจในผู้สูงอายุตั้งแต่65 ปี : การสํารวจเบื้องต้นแบบภาคตัดขวาง. Health Science, Science and Technology Reviews 2566; 16(3):85-93.
34. Yuenyongchaiwat K, Sermsinsathong N, Songsorn P, Charususin N, Buranapuntalug S, Buekban C, Thanawattano C.Feasibility assessment of a virtual reality-based aerobic exercise program with real-time pulse rate monitoring on hemodynamic and arterial stiffness in healthy people. Frontiers in Digital Health 2024; 6: 2024.doi.org/10.3389/fdgth.2024.1356837
35. Boontanom N, Kooncumchoo P, Yuenyougchaiwat K. Cardiorespiratory Performance, Physical Activity, and Depression in Thai Older Adults with Sarcopenia and No Sarcopenia: A Matched Case-Control StudyInternational Journal of Environmental Research and Public Health 2024, 21, 724. https://doi.org/10.3390/ijerph21060724
36. Pongpanit K, Korakot M, Nitilap P, Puplab N, Charususin N, Yuenyongchaiwat K. Acute cardiac autonomic and hemodynamic responses to resistive breathing: Effect of loading type and intensity. Clin Physiol Funct Imaging. 2024 Mar 18. doi: 10.1111/cpf.12877.
37. Sattaratpaijit N, Thanawattano C, Leelasittikul K, Pugongchai A, Saiborisut N, Yuenyongchaiwat K, Tepwimonpetkun C, Saiphoklang N. Comparison of sleep position monitoring between NaTu sensor and video‑validated polysomnography in patients with obstructive sleep apnea.Sleep Breath. 2024 Jun 22. doi: 10.1007/s11325-024-03076-3.
Research Grants
1. การสร้างเสริมสมรรถภาพร่างกายในกลุ่มผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด และกลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยใช้การออกกำลังกายแบบสภาพแวดล้อมเสมือนจริง และการพัฒนาโปรแกรมการออกกำลังกาย โดยใช้แบบจำลองสภาพแวดล้อมเสมือนจริง: ปีที่ 2 กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2567 (ผ่านหน่วยงาน) หัวหน้าโครงการวิจัย
2. การสร้างเสริมสมรรถภาพร่างกายในกลุ่มผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด และกลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยใช้การออกกำลังกายแบบสภาพแวดล้อมเสมือนจริง และการพัฒนาโปรแกรมการออกกำลังกาย โดยใช้แบบจำลองสภาพแวดล้อมเสมือนจริง กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2566 (ผ่านหน่วยงาน) หัวหน้าโครงการวิจัย
3. ประสิทธิผลของโปรแกรมการออกกำลังกายในน้ำ และโปรแกรมการออกกำลังกายในน้ำร่วมกับการฝึกความจำต่อความจำและความสามารถในการเคลื่อนไหวของผู้สูงอายุไทยที่มีภาวะรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2566 (ผ่านหน่วยงาน) ผู้ร่วมวิจัย
4. การพัฒนาและการศึกษาความเป็นไปได้ของแอปพลิเคชันมือถือเพื่อส่งเสริมการมีพฤติกรรมที่ทำให้หัวใจแข็งแรงอย่างต่อเนื่องภายหลังการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2566 (ผ่านหน่วยงาน) ผู้ร่วมวิจัย
5. ความชุก ความสามารถในการทำงานและประสิทธิภาพของการใช้เครื่อง I-walk หรือ การออกกำลังกายแบบ home-based เพื่อชะลอภาวะเปราะบางในผู้สูงอายุไทย กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.)ทุนวิจัย : งบประมาณด้านการวิจัย และนวัตกรรมประเภท Strategic Fund ปีงบประมาณ 2565 (วิจัยระบบสุขภาพสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ) ผู้ร่วมวิจัย
6. การใช้นิวโรฟีดแบคปรับคลื่นสมองด้วยไบเนอรัล บีทเพื่อเพิ่มคุณภาพการนอนหลับในผู้สูงอายุ กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.)ทุนวิจัย : ทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย : เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ช่วยเหลือการดำรงชีวิต (Assisted living) สำหรับผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2565 ผู้ร่วมวิจัย
7. การพัฒนาอุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าสมองแบบสวมใส่และวิธีการปรับคลื่นเสียงให้เหมาะสมกับช่วงการนอนของแต่ละบุคคล กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.)ทุนวิจัย : ทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย : เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ช่วยเหลือการดำรงชีวิต (Assisted living) สำหรับผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2565 ผู้ร่วมวิจัย
8. ภาวะมวลกล้ามเนื้อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี ทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (Fast Track) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ปีงบประมาณ 2565 หัวหน้าโครงการวิจัย ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยและความซึมเศร้าในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ทุนวิจัย จากกองทุนวิจัยคณะสหเวชศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หัวหน้าโครงการวิจัย
9. อุบัติการณ์ของภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยและผลของกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุที่มีภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในชุมชน ทุนพัฒนานักวิจัยรุ่นกลาง (เมธีวิจัย) ปีงบประมาณ 2563-2564 สำนักงานวิจัยแห่งชาติ หัวหน้าโครงการวิจัย
10. เครื่องฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ กิจกรรมสนับสนุนเพื่อเร่งการเติบโตของธุรกิจนวัตกรรมรายใหม่สำหรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (Research Gap Fund ประจำปีงบประมาณ 2563) หัวหน้าโครงการวิจัย
11. ความชุกของภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง และความสัมพันธ์ระหว่างมวลกล้ามเนื้อน้อยกับภาวะซึมเศร้าและกิจกรรมทางกาย. กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2563 ประเภททุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (Fast Track) หัวหน้าโครงการวิจัย
12. ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยและความสัมพันธ์ของสมรรถภาพหัวใจและหายใจ, ระดับกิจกรรมทางกาย, การรู้คิด และความซึมเศร้า ในกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2562 (ทุนอาจารย์รุ่นใหม่) หัวหน้าโครงการวิจัย
13. การพัฒนาเครื่องฝึกการหายใจ และผลการฝึกการหายใจต่อสมรรถภาพการหายใจ ความสามารถในการทำกิจกรรม ความซึมเศร้าและคุณภาพชีวิตในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง งบประมาณ แผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หัวหน้าโครงการวิจัย
14. โครงการพัฒนาเครื่องช่วยในการเพิ่มสมรรถภาพการทำงานของหัวใจและปอด สำหรับผู้ป่วยในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ระยะที่ 2) งบประมาณ แผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2563 ผู้ร่วมวิจัย
15. ผลของการใช้อุปกรณ์ต้นแบบบริหารปอดด้วยระบบดิจิตอล ในกลุ่มผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจ. กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 ประเภททุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (Fast Track) ผู้ร่วมวิจัย
Awards
1. รางวัล Gold prize “Respiratory measurement: Device-assisted breathing training” exhibited at the Seoul International Invention Fair 2017, Organized by the Korea Invention Promotion Association in Seoul, KOREA. 2017. November 30th – December 3rd,
2. รางวัล Silver prize “Pulse oximeter for android” The 30th International Invention, Innovation & Technology Exhibition” (ITEX 2019), Malaysia, May 2nd -4th, 2019
3. รางวัล Silver Prize “Pulse oximeter combined with oxygen device” Seoul International Invention Fair 2019, Seoul, Korea. November 27th – November 30th, 2019.
4. รางวัลประกาศเกียรติคุณ ผลงานเรื่อง “เครื่องฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ” รางวัลการวิจัยแห่งชาติ: รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปีงบประมาณ 2565 วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565
5. รางวัล เหรียญเงิน โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์เเละนวัตกรรม Thailand New Gen Inventors Award 2021(I-New Gen Award 2021) จากสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมเรื่อง “แอบพลิเคชั่นการฝึกหายใจเพื่อเพิ่มสมรรถภาพหัวใจและหายใจ” ในงาน “วันนักประดิษฐ์” ประจำปี 2565 วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565
6. รางวัล Bronze prize ผลงานเรื่อง “Virtual reality exercise for improving cardiovascular performance in patients with cardiovascular disease and patient with open heart surgery” Seoul International Invention Fair 2022 (SIFF 2022), จัดโดย the Korea Invention Promotion Association in Seoul ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
7. รางวัล Gold prize ผลงานเรื่อง “Application and walking test device for cardiovascular endurance evaluation” Seoul International Invention Fair 2022” (SIFF 2022), จัดโดย the Korea Invention Promotion Association in Seoul ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
8. รางวัล เหรียญเงิน “เครื่องออกกำลังกายแบบสภาพแวดล้อมเสมือนจริงเพื่อเพิ่มสมรรถภาพร่างกายในกลุ่มผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดและกลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ” “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 (Thailand Research Expo 2022)”ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 2 – 5 สิงหาคม 2565
9. รางวัล Silver Prize “Digital incentive spirometer device” Seoul International Invention Fair 2023, Seoul, Korea. November 1th – November 4th, 2023.
10. รางวัลระดับดี ผลงานเรื่อง“เครื่องวัดอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจและฝึกหายใจ” รางวัลการวิจัยแห่งชาติ: รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปีงบประมาณ 2567
11. รางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 และเหรียญทอง “อุปกรณ์บริหารปอดด้วยระบบดิจิตอล” Thailand New Gen Inventors Award 2024 (I-New Gen Award)
12. รางวัล Gold prize “Digital incentive spirometer” 2024 Bangkok International Intellectual Property, Invention, Innovation and Technology Exposition” (IPITEx 2024
13. รางวัล Gold prize “Breath and Hold Device” 2024 Bangkok International Intellectual Property, Invention, Innovation and Technology Exposition” (IPITEx 2024)
Textbooks/Books
1. กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. Physical therapy in the thoracic surgical patients. ใน ชัยสิทธิ์ ศรีสมบูรณ์ ตำราพื้นฐานศัลยศาสตร์ทรวงอก: Fundamental of general thoracic surgery พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร, 2550. หน้า233-244.
2. สุวัฒน์ จิตรดำรงค์ และ กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. คู่มือการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดโรคหัวใจ สำหรับประชาชน. คู่มือการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดโรคหัวใจ สำหรับประชาชน. สมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย. นครปฐม: เจ.พี. ก๊อปปี้, 2558. ISBN: 978-616-92376-0-0
3. ศศิภา บูรณพันธฤกษ์ และ กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์. การพันผ้ายืดสำหรับกายภาพบำบัด. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2562. ISBN: 9786163142788
4. กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์ กายภาพบำบัดในผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ระยะแรก (Physiotherapy Management in Patients with Coronary Artery Bypass Grafting (CABG): Phase I) . กรุงเทพฯ : เอ็มแอนด์เอ็มเลเซอร์พริ้นต์. 2561. ISBN: 9786164555761
5. กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์, ขจรศักดิ์ พงษ์พานิช, จิตานันท์ เหล่าศิริไพศาล, นพวรรณ จารุสุสินธ์, ปรียาภรณ์ สองศร, ศศิภา บูรณพันธฤกษ์. กายภาพบำบัดทางระบบทางเดินหายใจ ในสภาวะพิเศษ (Respiratory physiotherapy in special conditions). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2562. ISBN 9786163144294
6. กรอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์ กายภาพบำบัดในผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (Physical therapy Management in open heart surgery). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2565. ISBN 9786163146380
Patents/Petty Patents/Copyrights
1.อนุสิทธิบัตร: อุปกรณ์ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมด้วยการวัดระยะทางการเดิน 6 นาที. วันที่ออกอนุสิทธิบัตร 25 กันยายน 2566 เลขที่อนุสิทธิบัตร 22534
2.อนุสิทธิบัตร: ระบบการฝึกหายใจแบบช้า-ลึก. วันที่ออกอนุสิทธิบัตร 29 กันยายน 2566 เลขที่อนุสิทธิบัตร 22536
3.อนุสิทธิบัตร: อุปกรณ์วัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดที่สามารถส่งข้อมูลและแสดงผลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ได้. วันที่ออกอนุสิทธิบัตร 11 พฤษภาคม 2566 เลขที่อนุสิทธิบัตร 21584
4.อนุสิทธิบัตร: อุปกรณ์ช่วยฝึกหายใจ. วันที่ออกอนุสิทธิบัตร 5 เมษายน 2566. เลขที่อนุสิทธิบัตร 21340
5.อนุสิทธิบัตร: ระบบวิเคราะห์ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดจากสัญญาณอนาล๊อก: วิธีการแบบไม่ล่วงล้ำ วันที่ออกอนุสิทธิบัตร 12 กุมภาพันธ์ 2567 เลขที่ 23160
6.สิทธิบัตร:เครื่องฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ (Breath Trainer) วันที่ออกสิทธิบัตร 16 พฤษภาคม 2567 เลขที่สิทธิบัตร 100734
7.อนุสิทธิบัตร: อุปกรณ์บริหารปอดด้วยระบบดิจิตอล วันที่ออกอนุสิทธิบัตร ได้รับเมื่อ 2 สิงหาคม 2567 เลขที่อนุสิทธิบัตร 24202
8.ลิขสิทธิ์: ชุดวีดีทัศน์ การใช้งานอุปกรณ์การออกกำลังกายเสมือนจริงที่กำหนดอัตราการเต้นของหัวใจเพื่อการออกกำลังกาย. เลขที่ ส.018722
9.ลิขสิทธิ์: วิดีทัศน์การใช้งานอุปกรณ์ฝึกหายใจช้า-ลึกพร้อมแอปพลิเคชันการฝึกหายใจ. เลขที่ ส.018980
10.ลิขสิทธิ์: ชุดวีดีทัศน์ การใช้งานเครื่องฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจเข้า. เลขที่ ส.019035
11.ลิขสิทธิ์: วีดีทัศน์การใช้งานอุปกรณ์ประเมินความทนทานของหลอดเลือดหัวใจ ด้วยการทดสอบการเดิน. เลขที่ ส.019039